การรับส่งข้อมูลบนเครืีอข่าย
ความหมายของการรับ-ส่งข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การรับ-ส่งข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) หรือที่นิยมเรียกกันว่า อีเมล (E-Mail) หมายถึง การสื่อสารหรือการส่งข้อความจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งผ่านไปเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งโดยส่งผ่านทางระบบเครือข่าย (Network) ผู้ส่งจะต้องมีเลขที่อยู่ (E-mail Address)
ของผู้รับ และผู้รับสามารถเปิดคอมพิวเตอร์เรียกข่าวสารนั้นออกมาดูเมื่อใดก็ได้ โดยทั่วไปจัดว่าเป็นงานส่วนหนึ่งของสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automatic) ซึ่งปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก
ประโยชน์ของการรับ-ส่งข้อมูลทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
การรับ-ส่งข้อมูลทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ถือว่าเป็นส่วนสำคัญในการสื่อสารบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่นิยมใช้มากที่สุด เพราะมีประโยชน์มากมาย ดังนี้
1. ทำให้การติดต่อสื่อสารทั่วโลกเป็นไปอย่างรวดเร็ว ระยะทางไม่เป็นอุปสรรคสำหรับอีเมลในทุกแห่งทั่วโลกที่มีเครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อถึงกันได้ สามารถเข้าไปสถานที่เหล่านั้นได้ทุกที่ ทำให้ผู้คนทั่วโลกติดต่อถึงกันได้ทันที ผู้รับสามารถจะรับข่าวสารจากอีเมลได้ทันทีที่ผู้ส่งจดหมายส่งข้อมูลผ่านทางคอมพิวเตอร์เสร็จสิ้น
2. สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับที่ต้องการได้ทุกเวลา แม้ผู้รับจะไม่ได้อยู่ที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ก็ตามจดหมายจะถูกเก็บไว้ในตู้จดหมายของคอมพิวเตอร์และเป็นส่วนตัว จนกว่าเจ้าของจดหมายที่มีรหัสผ่านจะเปิดตู้จดหมายของตนเองอ่าน
3. สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับหลายๆคนได้ในเวลาเดียวกัน โดยไม่ต้องเสียเวลาส่งให้ทีละคน กรณีนี้จะใช้กับจดหมายที่เป็นข้อความเดียวกัน เช่น หนังสือเวียนแจ้งข่าวให้สมาชิกในกลุ่มทราบหรือเป็นการนัดหมายระหว่างสมาชิกในกลุ่ม เป็นต้น
4. ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทางไปส่งจดหมายที่ตู้ไปรษณีย์หรือที่ทำการไปรษณีย์ ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่ง เนื่องจากไม่ต้องคำนึงถึงปริมาณน้ำหนักและระยะทางของจดหมายเหมือนกับการส่งทางไปรษณีย์ธรรมดา
5. ผู้รับจดหมายสามารถเรียกอ่านจดหมายได้ทุกเวลาตามสะดวก ซึ่งจะทำให้ทราบว่าในตู้จดหมายของผู้รับมีจดหมายกี่ฉบับ มีจดหมายที่อ่านแล้วหรือยังไม่ได้เรียกอ่านกี่ฉบับ เมื่ออ่านจดหมายฉบับใดแล้ว หากต้องการลบทิ้งก็สามารถเก็บข้อความไว้ในรูปของแฟ้มข้อมูลได้ หรือจะพิมพ์ออกมาลงกระดาษก็ได้เช่นกัน
6. สามารถถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล (Transferring Flies) แนบไปกับจดหมายถึงผู้รับได้ ทำให้การแลกเปลี่ยนข่าวสารเป็นไปได้โดยสะดวก รวดเร็ว ทันเวลาและทันเหตุการณ์ จากความสำคัญของอีเมลที่สามารถอำนวยประโยชน์ให้กับผู้ใช้อย่างคุ้มค่านี้ ทำให้ในปัจจุบันอีเมลกลายเป็นส่วนหนึ่งของสำนักงานทุกแห่งทั่วโลก ที่ทำให้สมาชิกในชุมชนโลกสามารถติดต่อกันผ่านทางคอมพิวเตอร์ได้ในทุกที่ทุกเวลา
ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์
ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ (Baseband) จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่สายสัญญาณหรือตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึ่งเท่านั้น นั่นคืออุปกรณ์ที่ใช้งานสายสัญญาณในขณะนั้นจะครอบครองช่องสัญญาณทั้งหมดโดยอุปกรณ์อื่นจะไม่สามารถร่วมใช้งานได้เลย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือระบบโทรศัพท์ เป็นต้น ซึ่งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเป็นการสื่อสารแบบเบสแบนด์ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น ๆ (เช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ) การสื่อสารผ่าน และการสื่อสารผ่านเครือข่ายหลัก ๆ ด้วย ยกเว้นเครือข่ายแบบ B - ISDN ที่เป็นแบบบรอดแบนด์
ระบบการประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลาง
(CentralizedProcessing )
ในระบบการประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลางนั้น ( Centralized data Processing ) การประมวลผลข้อมูลทั้งหมดจะเกิดขึ้นที่เครื่องหลักเพียงเครื่องเดียว ซึ่งในระยะแรกผู้ที่ต้องการทำการประมวลผลข้อมูลจะต้องไปใช้งานที่ศูนย์กลางที่ตัวเครื่องตั้งอยู่เท่านั้น แต่เมื่อระบบการสื่อสารข้อมูลก้าวหน้าขึ้น ก็ได้เกิดวิธีการที่ช่วยให้การประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลางสามารถกระทำได้สะดวกขึ้นนั่นคือ การประมวลผลทางไกล (Teleprocessing ) ซึ่งเป็นการทำให้ผู้ใช้งานสามารถเชื่อมต่อมาใช้งานคอมพิวเตอร์ที่ศูนย์กลางได้จากระบบการสื่อสารต่าง ๆ แต่การประมวลผลก็จะอยู่ที่ศูนย์กลางเช่นเดิม เครื่องที่เชื่อมต่อเข้ามาจะทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่เครื่องศูนย์กลางแสดงมาเท่านั้น
ระบบการประมวลผลข้อมูลไคลเอนต์ - เซิร์ฟเวอร์ ( Client - Server Processing )
เป็นการประมวลผลที่ได้รับความนิยมในยุคถัดมา เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลได้มีการใช้งานอย่างแพร่หลาย และมีประสิทธิภาพของเครื่องสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้เกิดแนวคิดที่จะประมวลผลมาทำงานที่ PC โดยในระบบนี้ เครื่อง PC จะเรียกใช้งานโปรแกรมที่ทำหน้าที่คุยกับโปรแกรมที่คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง และรับหน้าที่ในการนำข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม รวมทั้งรับหน้าที่ในส่วนของการโต้ตอบและรับข้อมูลจากผู้ใช้ด้วย
ระบบการประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย ( Distributed Processing )
เป็นการประมวลผลที่ได้รับการพัฒนาในขั้นต่อมา โดยจะมีการกระจายภาระการประมวลผลไปยังเครื่องต่าง ๆ ที่เชื่อมกันอยู่กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และนำผลลัพธ์ที่ได้มารวมกัน ซึ่งวิธีการนี้ทำให้เพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลของระบบโดยรวม รวมทั้งยังสามารถลดจำนวนข้อมูลที่ส่งผ่านเครือข่ายได้ด้วยวเตอร์
สื่อสารข้อมูลแบบอนุกรมและแบบขนาน
การสื่อสารแบบอนุกรมจะเป็นการส่งข้อมูลทีละบิตต่อครั้งผ่านสายสื่อสาร ในขณะที่การสื่อสารข้อมูลแบบขนานจะส่งข้อมูลเป็นชุดของบิตพร้อม ๆ กันในแต่ละครั้ง ซึ่งทำให้การส่งข้อมูลแบบขนานสามารถทำได้เร็วกว่า แต่ก็จะเสียค่าใช้จ่ายสูงกว่าเช่นกัน เนื่องจากสายที่ใช้จะต้องมีช่องสัญญาณจำนวนมาก เช่น 8 ช่องเพื่อให้สามารถส่งข้อมูลได้แปดบิตพร้อมกัน
การสื่อสารข้อมูลแบบอนุกรมและแบบขนาน
ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์
ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ (Baseband) จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่สายสัญญาณหรือตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึ่งเท่านั้น นั่นคืออุปกรณ์ที่ใช้งานสายสัญญาณในขณะนั้นจะครอบครองช่องสัญญาณทั้งหมดโดยอุปกรณ์อื่นจะไม่สามารถร่วมใช้งานได้เลย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือระบบโทรศัพท์ เป็นต้น ซึ่งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเป็นการสื่อสารแบบเบสแบนด์ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น ๆ (เช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ) การสื่อสารผ่าน และการสื่อสารผ่านเครือข่ายหลัก ๆ ด้วย ยกเว้นเครือข่ายแบบ B - ISDN ที่เป็นแบบบรอดแบนด์
ระบบเครือข่ายแบบบรอดแบนด์ (Broadband) จะตรงข้ามกับเบสแบนด์ นั่นคือจะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่ตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถมีหลายช่องสัญญาณได้พร้อม ๆ กัน โดยใช้วิธีแบ่งช่องความถี่ออกจากกัน ทำให้อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถสื่อสารกันโดยใช้ช่องความถี่ของตนเองผ่านตัวกลางเดียว เช่น ระบบเครือข่าย Cable TV ซึ่งสามารถส่งสัญญาณมาพร้อมกันหลาย ๆ ช่องบนสายสื่อสารเส้นเดียวกัน และผู้รับก็สามารถเลือกช่องความถี่ที่ต้องการชมได้ เป็นต้น
การควบคุมการ รับ/ส่ง ข้อมูลในเครือข่าย
การควบคุมการ รับ/ส่ง ข้อมูลในเครือข่าย หรือวิธีการควบคุมการเข้าใช้สื่อกลางในการส่งข้อมูล (Media Access Control Method: MAC) หมายถึงข้อตกลงมนการ รับ/ส่ง ข้อมูลผ่านสื่อกลาง ทุกๆโหนดในเครือข่ายจะต้องใช้มาตรฐานเดียวกัน การทำงานส่วนนี้จะกระทำในส่วนของแผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card: NIC)
วิธีการควบคุมการ รับ/ส่ง ข้อมูลในเครือข่าย มีหลายวิธี แต่ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีดังนี้คือ
1.วิธีการช่วงชิงการส่งข้อมูล (Carrier Sense Multiple Access: CSMA/CD)
-การตรวจฟังสัญญาณ (Carrier Sense)
ทุกๆ โหนดในระบบเครือข่ายที่ต้องการส่งข้อมูล จะทำการตรวจสอบสื่อกลางว่าว่างหรือไม่ โดยวิธีการส่งสัญญาณเข้าไปในสื่อกลางนั้น
-ถ้าสื่อกลางไม่ว่างโหนดนั้นต้องรอและคอยส่งสัญญาณตรวจสอบเป็นระยะๆ
-ถ้าสื่อกลางว่างจะมีสัญญาณตอบกลับให้ทราบ โหนดนั้นก็สามารถเริ่มส่งข้อมูลได้ โดยการแพร่กระจายข้อมูลไปทั่วเครือข่าย ทุกๆ โหนดในเครือข่ายสามารถเห็นข้อมูลนั้น
-การส่งข้อมูลลักษณะนี้ ถ้ามีโหนดมากกว่าหนึ่งโหนดต้องการส่งข้อมูลในเวลาเดียวกัน และได้รับสัญญาณตอบกลับว่าสื่อกลางว่างพร้อมกัน ทำให้มีการส่งข้อมูลเข้าไปในสื่อกลางมากกว่าหนึ่งโหนด ขั้นตอนนี้เรียกว่า การใช้สื่อกลางร่วมกัน (Multiple Access) ซึ่งทำให้ข้อมูลนั้นเกิดการชนกัน และเมื่อเกิดการชนกันของข้อมูลในเครือข่าย แต่ละโหนดต้องหยุดการส่งข้อมูล แล้วทำการสุ่มเวลาเพื่อรอการตรวจสอบสื่อกลางและส่งข้อมูลในรอบใหม่
2.วิธีการใช้โทเคน (Token Passing)
-ในเครือข่ายจะมีกลุ่มบิตควบคุมที่เรียกว่าโทเคน (Token)
-โทเคนนี้ทำหน้าที่วิ่งวนไปในสื่อกลางรอบเครือข่าย เพื่อ รับ/ส่ง ข้อมูลจากโหนดต่างๆ
-แต่โหนดจะคอยตรวจสอบสัญญาณโทเคนที่ผ่านมาว่าว่างมีข้อมูลส่งมาถึงตนเองหรือไม่หรือคอยตรวจสอบว่าสัญญาณโทเคนนั้นว่างให้ตนเองส่งข้อมูลไปให้โหนดอื่นๆ หรือไม่
วิธีการใช้โทเคน (Token Passing)
วิธีการใช้โทเคน มีหลักการส่งข้อมูล ดังนี้ คือ
1. ในเครือข่ายจะมีกลุ่มบิตควบคุมที่เรียกว่าโทเคน (Token)
2. โทเคนนี้ทำหน้าที่วิ่งวนไปในสื่อกลางรอบเครือข่าย เพื่อ รับ/ส่ง ข้อมูลจาก
โหนดต่างๆ
3.แต่โหนดจะคอยตรวจสอบสัญญาณโทเคนที่ผ่านมาว่าว่างมีข้อมูลส่งมาถึงตนเองหรือไม่ หรือคอยตรวจสอบว่าสัญญาณโทเคนนั้นว่างให้ตนเองส่งข้อมูลไปให้โหนดอื่นๆ หรือไม่
-กรณีที่โหนดที่ 1 ต้องการส่งข้อมูลไปโหนดที่ 4
-โหนดที่ 1 จะทำการตวจสอบสัญญาณโทเคนที่ผ่านมาว่าว่างให้ตนเองส่งข้อมูลหรือไม่
-ถ้าสัญญาณโทเคนว่าง โหนดที่ 1 จะทำการเปลี่ยนข้อมูลของสัญญาณโทเคน เพื่อบอกให้โหนดอื่นทราบว่าขณะนี้สัญญาณโทเคนกำลังถูกใช้งานอยู่ แล้วส่งข้อมูลไปพร้อมกับสัญญาณโทเคนไปยังโหนด 2
-เมื่อโหนดที่ 2 รับข้อมูลจากโทเคน และตรวจสอบพบว่าไม่ใช่ข้อมูลของตนเองก็จะทำการส่งข้อมูลนั้นไปยังโหนดที่ 3
-เมื่อโหนดที่ 3 รับข้อมูลจากโทเคนและตรวจสอบพบว่าไม่ใช่ข้อมูลของตนเอง ก็จะทำการส่งข้อมูลนั้นไปยังโหนดที่ 4
-เมื่อโหนดที่ 4 รับข้อมูลจากโทเคน และตรวจสอบพบว่าเป็นข้อมูลของตนเอง ก็จะเก็บข้อมูลนั้นไว้พร้อมทั้งเปลี่ยนข้อมูลของสัญญาณโทเคนเพื่อบอกให้โหนดอื่นทราบว่าสัญญาณโทเคนว่าง
ช่องทางการส่งสัญญาณ แบบเบสแบนด์(Basedand) แบบบรอดแบนด์ (Broadband)
ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ (Baseband)
จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่สายสัญญาณหรือตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึ่งเท่านั้น นั่นคือ อุปกรณ์ที่ใช้งานสายสัญญาณในขณะนั้นจะครอบครองช่องสัญญาณทั้งหมดโดยอุปกรณ์อื่นจะไม่สามารถร่วมใช้งานได้เลย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ระบบโทรศัพท์ เป็นต้น ซึ่งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเป็นการสื่อสารแบบ Baseband รวมทั้งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น ๆ(เช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ) การสื่อสารผ่าน modems และการสื่อสารผ่านเครือข่ายหลักๆ ด้วย ยกเว้นเครือข่ายแบบ B-ISDN ที่เป็นแบบ Broadband
ระบบเครือข่ายแบบบรอดแบนด์ (Broadband)
จะตรงข้ามกับ Baseband นั่นคือ จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่ตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถมีหลายช่องสัญญาณได้พร้อม ๆ กันโดยใช้วิธีแบ่งช่องความถี่ออกจากกัน ทำให้อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถสื่อสารกันโดยใช้ช่องความถี่ของตนเองผ่านตัวกลางเดียว ตัวอย่างเช่น ระบบเครือข่าย Cable TV ซึ่งสามารถส่งสัญญาณมาพร้อมกันหลาย ๆ ช่องบนสายสื่อสารเส้นเดียว และผู้รับก็สามารถเลือกช่องความถี่ที่ต้องการชมได้ เป็นต้น
การรับ-ส่งข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
โดยใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) หรือที่นิยมเรียกกันว่า อีเมล (E-Mail) หมายถึง การสื่อสารหรือการส่งข้อความจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งผ่านไปเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งโดยส่งผ่านทางระบบเครือข่าย (Network) ผู้ส่งจะต้องมีเลขที่อยู่ (E-mail Address) ของผู้รับ และผู้รับสามารถเปิดคอมพิวเตอร์เรียกข่าวสารนั้นออกมาดูเมื่อใดก็ได้ โดยทั่วไปจัดว่าเป็นงานส่วนหนึ่งของสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automatic) ซึ่งปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก
ประโยชน์ของการรับ-ส่งข้อมูลทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
การรับ-ส่งข้อมูลทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ถือว่าเป็นส่วนสำคัญในการสื่อสารบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่นิยมใช้มากที่สุด เพราะมีประโยชน์มากมาย ดังนี้
1. ทำให้การติดต่อสื่อสารทั่วโลกเป็นไปอย่างรวดเร็ว ระยะทางไม่เป็นอุปสรรคสำหรับอีเมลในทุกแห่งทั่วโลกที่มีเครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อถึงกันได้ สามารถเข้าไปสถานที่เหล่านั้นได้ทุกที่ ทำให้ผู้คนทั่วโลกติดต่อถึงกันได้ทันที ผู้รับสามารถจะรับข่าวสารจากอีเมลได้ทันทีที่ผู้ส่งจดหมายส่งข้อมูลผ่านทางคอมพิวเตอร์เสร็จสิ้น
2. สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับที่ต้องการได้ทุกเวลา แม้ผู้รับจะไม่ได้อยู่ที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ก็ตามจดหมายจะถูกเก็บไว้ในตู้จดหมายของคอมพิวเตอร์และเป็นส่วนตัว จนกว่าเจ้าของจดหมายที่มีรหัสผ่านจะเปิดตู้จดหมายของตนเองอ่าน
3. สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับหลายๆคนได้ในเวลาเดียวกัน โดยไม่ต้องเสียเวลาส่งให้ทีละคน กรณีนี้จะใช้กับจดหมายที่เป็นข้อความเดียวกัน เช่น หนังสือเวียนแจ้งข่าวให้สมาชิกในกลุ่มทราบหรือเป็นการนัดหมายระหว่างสมาชิกในกลุ่ม เป็นต้น
4. ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทางไปส่งจดหมายที่ตู้ไปรษณีย์หรือที่ทำการไปรษณีย์ ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่ง เนื่องจากไม่ต้องคำนึงถึงปริมาณน้ำหนักและระยะทางของจดหมายเหมือนกับการส่งทางไปรษณีย์ธรรมดา
5. ผู้รับจดหมายสามารถเรียกอ่านจดหมายได้ทุกเวลาตามสะดวก ซึ่งจะทำให้ทราบว่าในตู้จดหมายของผู้รับมีจดหมายกี่ฉบับ มีจดหมายที่อ่านแล้วหรือยังไม่ได้เรียกอ่านกี่ฉบับ เมื่ออ่านจดหมายฉบับใดแล้ว หากต้องการลบทิ้งก็สามารถเก็บข้อความไว้ในรูปของแฟ้มข้อมูลได้ หรือจะพิมพ์ออกมาลงกระดาษก็ได้เช่นกัน
6. สามารถถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล (Transferring Flies) แนบไปกับจดหมายถึงผู้รับได้ ทำให้การแลกเปลี่ยนข่าวสารเป็นไปได้โดยสะดวก รวดเร็ว ทันเวลาและทันเหตุการณ์ จากความสำคัญของอีเมลที่สามารถอำนวยประโยชน์ให้กับผู้ใช้อย่างคุ้มค่านี้ ทำให้ในปัจจุบันอีเมลกลายเป็นส่วนหนึ่งของสำนักงานทุกแห่งทั่วโลก ที่ทำให้สมาชิกในชุมชนโลกสามารถติดต่อกันผ่านทางคอมพิวเตอร์ได้ในทุกที่ทุกเวลา
เว็บไซต์ที่ให้บริการฟรีอีเมล
การรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์มีบริการที่ให้ใช้บริการได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เว็บไซต์ที่ให้บริการนี้มีจำนวนมาก ตัวอย่างเช่น